การขายสินค้า ต้องเสียภาษี 7 % หรือ 0% หรือไม่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถามวันที่ 16 พ.ย. 2559 . ถามโดย poonsri.41109 . เข้าชม 8 ครั้ง
การขายสินค้า ต้องเสียภาษี 7 % หรือ 0% หรือไม่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถามวันที่ 16 พ.ย. 2559 . ถามโดย poonsri.41109 . เข้าชม 8 ครั้ง
บริษัท A (ต่างประเทศ-พม่า) มีคลังสินค้าในเขตปลอดอากรที่ระนอง สั่งซื้อสินค้าจากบริษัท ก (ในไทย) เงือนไขการซื้อขายระหว่าง A กับ ก เป็น DAP ณ เขตปลอดอากร ระนอง (ผู้ขายต้องรับผิดชอบคชจ.ต่างๆ ยกเว้นค่าภาษีและพิธีการนำเข้า และรับความเสี่ยงภัยจนสินค้าถึงจุดหมายปลายทาง ) บริษัท ก (ไทย) จึงสั่งซื้อสินค้าจาก บริษัท B ( อินเดีย) บริษัท B จึงได้ส่งของมาที่ท่าเรือกรุงเทพ บริษัท A ได้มีแต่ตั้งให้บริษัท ข (ในไทย) เป็นผู้ดำเนินการพิธีการศุลกากร จนนำของเข้าไปที่คลังเก็บสินค้าเขตปลอดอากรของบริษัท A ในเขต FREE ZONE ระนอง
ข้อมูลเพิ่มเติมเป็นขึ้นตอนที่เกิดขึ้นจริงในด้านเอกสาร
1 ) การซื้อขายระหว่าง บริษัท A กับบริษัท ก มีใบสั่งซื้อ
2) การซื้อขายระหว่าง บริษัท ก กับบริษัท B มีการจัดทำ L/C
3) B/L ที่ใช้ในการเคลียร์สินค้า ระบุ CONSIGNEE เป็นธนาคาร และระบุ NOTIFY PART เป็นบริษัท ข ให้กระทำการแทน A
4) เมื่อถึงขึ้นตอนดำเนินพิธีการศุลกากร ใบขนขาเข้าจะระบุ บริษัท ข เป็นผู้นำเข้า พร้อมระบุสถานเก็บสินค้าที่นำเข้ามาไปไว้เขตปลอดอากร ( สินค้าที่เข้าไปในเขตปลอดอากร จะอยู่ได้ไม่เกิน 2 ปี )
5) เมื่อดำเนินพิธีการ บริษัท ข ก็จะทำแบบคำขอนำสินค้าเข้าเขตปลอดอากรเพื่อไปพักไว้รอการนำออกไปที่พม่า เมื่อต้องการใช้
6) เมื่อพม่าต้องการสินค้า บริษัท ข (ไทย) จะเป็นผู้ดำเนินการส่งสินค้าออกจากเขตปลอดอากรไปยังพม่า โดย ใบขนส่งออกจะระบุ ผู้ส่งออกคือ บริษัท ข (ในไทย) และผู้นำเข้า เป็นบริษัท A ( พม่า)
จากข้อมูลดังกล่าว ข้างต้น ขอคำแนะนำ
คำถาม บริษัท ก ( ไทย ) ขายสินค้า ให้บริษัท A (พม่า) ถือเป็นขายสินค้า อัตรา 7 % หรือ อัตรา 0% หรือ ไม่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม คะ
ขอคำแนะนำสำหรับประเด็นควรระวัง
ข้อมูลเพิ่มเติมเป็นขึ้นตอนที่เกิดขึ้นจริงในด้านเอกสาร
1 ) การซื้อขายระหว่าง บริษัท A กับบริษัท ก มีใบสั่งซื้อ
2) การซื้อขายระหว่าง บริษัท ก กับบริษัท B มีการจัดทำ L/C
3) B/L ที่ใช้ในการเคลียร์สินค้า ระบุ CONSIGNEE เป็นธนาคาร และระบุ NOTIFY PART เป็นบริษัท ข ให้กระทำการแทน A
4) เมื่อถึงขึ้นตอนดำเนินพิธีการศุลกากร ใบขนขาเข้าจะระบุ บริษัท ข เป็นผู้นำเข้า พร้อมระบุสถานเก็บสินค้าที่นำเข้ามาไปไว้เขตปลอดอากร ( สินค้าที่เข้าไปในเขตปลอดอากร จะอยู่ได้ไม่เกิน 2 ปี )
5) เมื่อดำเนินพิธีการ บริษัท ข ก็จะทำแบบคำขอนำสินค้าเข้าเขตปลอดอากรเพื่อไปพักไว้รอการนำออกไปที่พม่า เมื่อต้องการใช้
6) เมื่อพม่าต้องการสินค้า บริษัท ข (ไทย) จะเป็นผู้ดำเนินการส่งสินค้าออกจากเขตปลอดอากรไปยังพม่า โดย ใบขนส่งออกจะระบุ ผู้ส่งออกคือ บริษัท ข (ในไทย) และผู้นำเข้า เป็นบริษัท A ( พม่า)
จากข้อมูลดังกล่าว ข้างต้น ขอคำแนะนำ
คำถาม บริษัท ก ( ไทย ) ขายสินค้า ให้บริษัท A (พม่า) ถือเป็นขายสินค้า อัตรา 7 % หรือ อัตรา 0% หรือ ไม่อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม คะ
ขอคำแนะนำสำหรับประเด็นควรระวัง